Category: Inflations Report

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ก.พ. 63

[  หนึ่งในข้อมูลชุด “Referencing Investment Data by TIF” ] เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันที่ 5-7 ของเดือนนี้ (จากเดิมที่จะเผยแพร่ทุกวันทำการแรกของเดือน) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือน ม.ค. 63  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline […]

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ม.ค. 63

[  หนึ่งในข้อมูลชุด “Referencing Investment Data by TIF” ] เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือน พ.ย. 62  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น […]

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ธ.ค. 62

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือน พ.ย. 62  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline Inflation มีความผันผวนมากกว่า นอกจากนั้นหลายคนมักจะสงสัยว่า […]

รู้หรือไม่ .. อัตราเงินเฟ้อไทยมี 3 ชุด 6 ตัวเลข

1) อัตราเงินเฟ้อมี 2 แบบ คือ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (รวมราคาสินค้าทุกชนิด) ซึ่งราคาผันผวนกว่า และ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (หัก อาหารสดและพลังงาน) ซึ่งราคานิ่งกว่า .. โดยแบงก์ชาติจะติดตามดูอัตราเงินเฟ้อทั้ง 2 แบบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลกำหนดทิศทางนโยบายการเงิน 2) กระทรวงพาณิชย์แบ่งการนำเสนอเงินเฟ้อเป็น 3 ชุด คือ (1) ชุดทั่วไป ** ซึ่งเป็นแบบที่เราใช้อ้างอิงกันแพร่หลาย ** (2) ชุดรายได้น้อย ซึ่งจะใช้ข้อมูลครัวเรือนที่รายได้ต่ำกว่าชุดแรก และ (3) ชุดชนบท ซึ่งใช้ข้อมูลครัวเรือนที่อยู่นอกเขตเทศบาล 3) อัตราเงินเฟ้อ 2 แบบ x ข้อมูล 3 ชุด = 6 ตัวเลข 4) ข้อสังเกตจากข้อมูลชุดรายได้น้อยและชุดชนบท […]

เงินเฟ้อไทย ทำไมถึงต่ำขัดใจผู้คน ?

หลังจากโพสข้อมูลเรื่องอัตราเงินเฟ้อไทย ณ เดือน ต.ค. 62 ที่ลงไปต่ำถึง +0.11% จากเดือนเดียวกันของปีก่อน ก็มีข้อสงสัยเข้ามาพอสมควร ว่าทำไมราคาข้าวของใกล้ ๆ ตัวบางท่านเพิ่มขึ้นเยอะ แต่อัตราเงินเฟ้อกลับต่ำมาก TIF ก็เลยไปแกะข้อมูลรายหมวดสินค้ามาทำเป็นกราฟ ซึ่งพบว่าสินค้าที่ราคาเพิ่มขึ้นเยอะจาก 12 เดือนก่อน เช่น ผักผลไม้ ข้าว หรือค่าโดยสารสาธารณะ มีน้ำหนักในการคำนวณอย่างละไม่ถึง 5% ขณะที่สินค้าซึ่งมีน้ำหนักมากถึง 16% อย่างยานพาหนะและน้ำมันเชื้อเพลิง มีราคาลดลงเกือบ 6% ส่วนอาหารสำเร็จรูปและค่าเช่าบ้าน ซึ่งมีน้ำหนักในการคำนวณมากเช่นกัน ราคาไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงเท่าไร .. ผลที่เกิดจากการคำนวณแบบเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักจึงออกมาว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไทยล่าสุด อยู่ที่ +0.11% ซึ่งใครที่มีการใช้จ่ายแต่ละเดือนเป็นสัดส่วนใกล้เคียงกับค่ามาตรฐาน ก็ควรจะมีอัตราเงินเฟ้อส่วนตัว (กลุ่มสินค้าที่เขาซื้อจริง ๆ) ใกล้เคียงกับ +0.11% .. แต่ใครที่มีการใช้จ่ายต่างไป เช่น กินข้าวและผักผลไม้เยอะมาก ๆ […]

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ พ.ย. 62

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือน ต.ค. 62  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline Inflation มีความผันผวนมากกว่า นอกจากนั้นหลายคนมักจะสงสัยว่า […]

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ต.ค. 62

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ (1 ต.ค. 62 ก็คือของเดือน ก.ย. 62  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline […]