Category: Knowledge Resources

แนะนำแหล่งข้อมูล ความรู้ ด้านการเงินการลงทุน

ผลตอบแทนการลงทุนยาว ในหุ้น อสังหาฯ ทองคำ ฯลฯ .. อัปเดตข้อมูล ณ ธ.ค. 61

พวกเราคงเคยได้ยินมาบ่อยครั้งว่า ‘ลงทุนก่อนรวยกว่า’ หรือไม่ก็ ‘ออมวันนี้เพื่อวันหน้า’ หรือไม่ก็ ‘การลงทุนเป็นเรื่องระยะยาว’  และก็มักจะเห็นกราฟแสดงจำนวนเงินออมเงินลงทุนระยะยาว ในกรณีที่ได้รับผลตอบแทนต่าง ๆ กัน และ/หรือ กรณีที่ระยะเวลาออม/ลงทุนต่างกัน เช่น 1) ไม่มีเงินมาก่อนเลย แต่นับจากนี้สามารถเติมเงินได้เดือนละ 5,000 และได้ผลตอบแทน 2% ต่อปี เมื่อเวลาผ่านไป 30 ปี จะมีเงิน 2,463,627  2) ระยะเวลา 30 ปีเท่ากันกับกรณี 1 แต่ทำผลตอบแทนได้เพิ่มจาก 2% เป็น 5% ต่อปี จำนวนเงินตอนจบจะเพิ่มเป็น 4,161,293 เท่ากับว่า ผลตอบแทนเพียง 3% ที่เพิ่มขึ้นตลอด 30 ปีนั้น สร้างเงินได้มากขึ้นถึง 1.7 ล้าน 3) เหมือนกับกรณี 2 (ระยะเวลาลงทุน 30 […]

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ธ.ค. 61

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “เฮ้ย ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือนตุลาคม 2561  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline Inflation มีความผันผวนมากกว่า นอกจากนั้นหลายคนมักจะสงสัยว่า […]

กราฟ SET Index ตั้งแต่ปี 2518 ที่เปิดตลาด และกราฟอีกหลายอย่างย้อนไปยาว ๆ

• แสดงด้วยข้อมูล Quarterly Time frame นั่นคือ หนึ่งแท่งเทียน แสดงข้อมูลจากช่วงเวลา 3 เดือน • กราฟทั้งหมดจากบริการ Aspen by ThaiQuest • บางตัวความจริงแล้วมีข้อมูลก่อนหน้านั้นนานหลายสิบปี เช่น Dow Jones มีมาแล้วเกิน 100 ปี แต่ระบบนี้มีย้อนไปเท่าที่นำมาแสดง

เงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ พ.ย. 61

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “เฮ้ย ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือนตุลาคม 2561  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline Inflation มีความผันผวนมากกว่า นอกจากนั้นหลายคนมักจะสงสัยว่า […]

อัตราเงินเฟ้อประเทศไทย อัปเดต ณ ต.ค. 61

เมื่อจะวางแผนการเงินเพื่อเกษียณ หรือสร้าง Financial model ในการประเมินธุรกิจ ก็มักจะถูกทักว่า “เฮ้ย ลืมเงินเฟ้อไปหรือเปล่า?!” ซึ่งบางทีเราก็ลืม หรือไม่ก็ไม่รู้ว่าจะใช้ตัวเลขไหนดี ก็เลยขอนำตัวเลขเงินเฟ้อมาให้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนซะเลย แต่ก่อนจะไปดูตัวเลข ขออธิบายก่อนว่า ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อในประเทศไทย ถูกรวบรวบข้อมูล คำนวณ และเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งตัวเลขของเดือนก่อนจะประกาศทุกวันทำการแรกของเดือนปัจจุบัน (นับว่าเป็นการประมวลผลที่เร็วมากกก) อย่างตัวเลขล่าสุดที่มี ณ เวลานี้ ก็คือของเดือนกันยายน 2561  โดยอัตราเงินเฟ้อแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) ซึ่งในการคำนวณ จะไม่รวมการเปลี่ยนแปลงราคาพลังงานและอาหารสด จึงทำให้ Core Inflation มีความผันผวนน้อยกว่าเงินเฟ้ออีกประเภท อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation หรือบางทีเรียกสั้น ๆ ว่า Inflation) ซึ่งจะรวมการเปลี่ยนแปลงราคาของสินค้าและบริการทุกประเภท จึงทำให้ Headline Inflation มีความผันผวนมากกว่า นอกจากนั้นหลายคนมักจะสงสัยว่า […]